ผู้สอน

Q&A

เส้นทางสู่สื่อมืออาชีพรุ่นใหม่ New Media – New Gen Course

คำอธิบาย :

สื่อสารมวลชนในโลกยุค New Media ต้องการบุคลากรรุ่นใหม่ New Gen ที่มีความรู้ใหม่ในวิชาชีพ เพราะสื่อทุกวันนี้ไม่ใช่เพียงองค์กร “สื่อ” คือ คนที่จะทำหน้าที่ในการสื่อสาร “สาร” คือ คอนเทนต์ซึ่งเป็นหัวใจหลักในโลกออนไลน์  สื่อมวลชนยุคนี้ต้องเพิ่มทักษะใหม่หลายด้านให้เป็น Multi Skill  ครบเครื่องในตัวเองมีความรู้ความเข้าใจในบริบทแวดล้อมสื่อทั้งเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงและแพลตฟอร์มต่าง ๆ มีทักษะการเล่าเรื่องใหม่ ๆ (Storytelling) มีทักษะด้านการสร้างสรรค์ (Creative Skill) มีความรู้เรื่อง Tech ที่จำเป็นด้าน Data & AI มีวิจารณญาณสามารถกำกับตนเองได้ในกรอบจริยธรรมจรรยาบรรณสื่อ และมีความรู้ด้านกฎหมายการสร้างเนื้อหาบนโลกดิจิทัล

หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ : นักสื่อสารมวลชน นักคอนเทนต์ครีเอเตอร์  นักศึกษา ผู้สนใจทั่วไป และผู้ที่ต้องการพัฒนาทักษะด้านสื่อสารมวลชน

ระยะเวลาอบรม : 3 ชั่วโมง 2 นาที

จัดทำหลักสูตรโดย : สมาคมวารสารศาสตร์ ธรรมศาสตร์ และ กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการ
กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ สำนักงาน กสทช.

วิทยากร :

Current Status
Not Enrolled
Price
Closed
Get Started
This คอร์ส is currently closed

คอร์ส Content

Expand All
SECTION 1: เทคโนโลยี 5G กับงานสื่อสารมวลชน การเป็นสื่อมืออาชีพในยุค Digital Media
แบบทดสอบ SECTION 1
SECTION 2: การสร้างเนื้อหา (Content) ที่มีคุณภาพในทุก Platform และเทคนิควิธีการเล่าเรื่อง (Storytelling) เรื่องเล่านี้ดีต่อใจ Heartful Storytelling
แบบทดสอบ SECTION 2
SECTION 3: สื่อเสียงจากวิทยุสู่ Platform ใหม่ ธรรมชาติของสื่อเสียงและความเปลี่ยนแปลงของสื่อวิทยุ Content Creator ในสื่อวิทยุ การสร้าง Podcast
แบบทดสอบ SECTION 3
SECTION 4: ทักษะใหม่ (New Skill) ที่ New Gen ต้องมีการนำเทคโนโลยี Data และ AI มาใช้ในบริบทของการสื่อสาร (Communication) การวิเคราะห์ข้อมูลโซเชียลมีเดีย และ Social Listening
แบบทดสอบ SECTION 4
SECTION 5: Creativity in TV Media ทักษะสร้างสรรค์ใหม่ในสื่อโทรทัศน์ และ Creativity in New Media ทักษะสร้างสรรค์ใหม่ใน New Media ทักษะสร้างสรรค์ใหม่ (Creative Skill)
แบบทดสอบ SECTION 5
SECTION 6: ความเข้มแข็งในจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพสื่อ / กฎหมายและจริยธรรมในการสร้างเนื้อหาบนโลกดิจิทัล
แบบทดสอบ SECTION 6
แบบประเมินความพึงพอใจ

แชร์ตอนนี้ :

Facebook
Twitter
Email